0 Ratings

เพิ่มไปรายการที่ชอบ

ราคา

ซื้อฉบับนี้ : 100.00 ฿

เกี่ยวกับ

"ย่อหลัก หมายถึง คำอธิบาย สำหรับเล่มนี้เป็นการย่อหลักกฎหมายพระธรรมนูญศาลยุติธรรม พร้อมด้วยกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ข้อกำหนด คำแนะนำ ใหม่ที่สำคัญ กฎหมายว่าด้วยพระธรรมนูญศาลยุติธรรม เป็นกฎหมายที่จัดระเบียบของศาลยุติธรรม โดยกำหนดอำนาจหน้าที่ตลอดจนเขตอำนาจศาลยุติธรรมไว้ เดิมใช้ พ.ร.บ. ให้ใช้พระธรรมนูญศาลยุติธรรม พุทธศักราช ๒๔๗๗ และพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ต่อมาได้ยกเลิกโดย พ.ร.บ. ให้ใช้พระธรรมนูญศาลยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๔๓ มาตรา ๓ เนื่องจากพระธรรมนูญศาลยุติธรรม เป็นเพียงบทบัญญัติเทียบด้วยประมวลกฎหมาย จึงต้องมี พ.ร.บ. ให้ใช้พระธรรมนูญศาลยุติธรรมไว้ท้าย พ.ร.บ. ให้ใช้ ฯ ด้วย ดังนั้น การใช้พระธรรมนูญศาลยุติธรรมจึงต้องอ่าน พ.ร.บ. ให้ใช้ ฯ ประกอบด้วย" สารบัญหนังสือ พ.ร.บ. ให้ใช้พระธรรมนูญศาลยุติธรรม บทนำ มาตรา ๑ ชื่อ พ.ร.บ. ให้ใช้พระธรรมนูญศาลยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๔๓ มาตรา ๒ วันใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๓ ยกเลิกกฎหมายเก่าทั้งฉบับ (พ.ศ. ๒๔๗๗) มาตรา ๔ นำบทบัญญัติท้าย พ.ร.บ.นี้ เป็นพระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา ๕ บทเฉพาะกาลกำหนดให้พระธรรมนูญศาลยุติธรรมท้าย พ.ร.บ. นี้ใช้บังคับ มาตรา ๖ ยกเลิกตำแหน่งบางตำแหน่งของผู้พิพากษา มาตรา ๗ เกี่ยวกับ พ.ร.ฎ. กฎกระทรวง ระเบียบราชการฝ่ายตุลาการ ระเบียบข้อบังคับและคำสั่งต่างๆ มาตรา ๘ ผู้รักษาการตาม พ.ร.บ. นี้ พระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา ๑ การจัดลำดับชั้นของศาลยุติธรรม มาตรา ๒ ประเภทของศาลชั้นต้นมีอะไรบ้าง มาตรา ๓ ประเภทของศาลอุทธรณ์มีอะไรบ้าง มาตรา ๔ บทบัญญัติให้ศาลฎีกา ศาลอุทธรณ์ ศาลชั้นต้นมีอำนาจแบ่งส่วนราชการ มาตรา ๕ ประธานศาลฎีกามีอำนาจหน้าที่วางระเบียบ ราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม มาตรา ๖ เลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรมโดยความเห็นชอบ มาตรา ๗ กำหนดจำนวนผู้พิพากษาในศาลยุติธรรมให้เหมาะสม มาตรา ๘ กำหนดให้แต่ละศาลมีหัวหน้าผู้พิพากษาผู้รับผิดชอบทำหน้าที่เป็นหัวหน้าดูแลราชการของศาล มาตรา ๙ ผู้พิพากษาหัวหน้าผู้รับผิดชอบดูแลปฏิบัติราชการในศาลต่างจังหวัด มาตรา ๑๐ การแบ่งสวนราชการในศาลฎีกา ศาลอุทธรณ์ ศาลชั้นต้น มาตรา ๑๑ ความรับผิดชอบ อำนาจหน้าที่ของผู้พิพากษาหัวหน้าผู้รับผิดชอบในราชการของศาล มาตรา ๑๒ ความรับผิดชอบงานของผู้พิพากษาหัวหน้าแผนก มาตรา ๑๓ ตำแหน่งอธิบดีผู้พิพากษากับรองอธิบดีผู้พิพากษาภาค มาตรา ๑๔ อำนาจและหน้าที่ของอธิบดีผู้พิพากษาศาล หมวด ๒ เขตอำนาจศาล มาตรา ๑๕ ห้ามมิให้มีการฟ้องซ้อน มาตรา ๑๖ การเปลี่ยนแปลงเขตอำนาจศาลชั้นต้น มาตรา ๑๗ อำนาจพิจารณาพิพากษาคดีของศาลแขวง มาตรา ๑๘ อำนาจของศาลจังหวัดพิจารณาพิพากษาคดี มาตรา ๑๙ อำนาจของศาลแพ่งในกรุงเทพมหานครและศาลอาญาในกรุงเทพมหานคร มาตรา ๒๐ อำนาจของศาลยุติธรรมอื่น มาตรา ๒๑ เขตอำนาจของศาลอุทธรณ์ มาตรา ๒๒ อำนาจพิจารณาพิพากษาคดีของศาลอุทธรณ์และศาลอุทธรณ์ภาค มาตรา ๒๓ อำนาจพิจารณาพิพากษาคดีของศาลฎีกา หมวด ๓ องค์คณะผู้พิพากษา มาตรา ๒๔ ผู้พิพากษามีอำนาจออกหมายเรียก หมายอาญา หรือหมายสั่ง ฯ มาตรา ๒๕ ผู้พิพากษาคนเดียวในศาลชั้นต้นเป็นองค์คณะมีอำนาจเกี่ยวแก่คดี มาตรา ๒๖ องค์คณะของผู้พิพากษาในการพิจารณาพิพากษาคดีของศาลชั้นต้น มาตรา ๒๗ องค์คณะของทั้ง ๓ ศาลและอำนาจพิพากษาคดีของที่ประชุมใหญ่ในศาลฯ มาตรา ๒๘ ยื่นคำฟ้องการสืบพยานของคู่ความ มาตรา ๒๙ การใช้โดยอาศัยเหตุอย่างเดียวกับมาตรา ๒๘ มาตรา ๓๐ อธิบายเหตุจำเป็นอื่นอันมิอาจก้าวล่วงได้ มาตรา ๓๑ ขยายความเหตุจำเป็นอื่นอันมิอาจก้าวล่วงได้ตามมาตรา ๒๘ ถึงมาตรา ๓๐ หมวด ๔ การจ่าย การโอน และการเรียกคืนสำนวนคดี มาตรา ๓๒ การจ่ายสำนวนคดี มาตรา ๓๓ การเรียกคืนหรือการโอนสำนวนคดี ผนวก พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมพระธรรมนูญศาลยุติธรรมฯ

รายละเอียด

ISBN : 9786163250452

วันวางขาย :

จำนวนหน้า : 125 หน้า

ประเภทไฟล์ : PDF

ขนาดไฟล์ : 12.00 MB

ประเทศ : TH

ภาษา : Thai

จากผู้แต่ง

กำลังโหลด ...

จากสำนักพิมพ์ สำนักพิมพ์สูตรไพศาล

กำลังโหลด ...

ให้ 5 คะแนน

ส่งคะแนน

ส่งรีวิว

popup