วิธีลัด เรียนทฤษฎีดนตรี (Music Theory) ใน 1 วัน

Current Time 0:00
/
Duration Time 0:00
Progress: NaN%

ราคา

ซื้อคอร์สนี้ : 2,500.00 ฿

เรียนได้ทุกที่ทุกเวลา ภายใน 365 วัน นับจากวันที่ชำระเงิน

เนื้อหาทั้งหมด 182 วิดีโอ ความยาวรวมกัน 6 ชั่วโมง 26 นาที

เรียนรู้และเข้าใจทฤษฎีดนตรีได้อย่างรวดเร็ว เพื่อให้เข้าใจและเรียนดนตรีประเภทต่างๆ ได้ในเวลารวดเร็ว

เกี่ยวกับคอร์สนี้

การเรียนดนตรีจะช่วยให้จิตใจผ่อนคลาย ทั้งยังเป็นการฝึกสมาธิไปพร้อมๆกันด้วย การเรียนดนตรีจะคล้ายกับการเรียนภาษาคือฝึกฝนอย่างค่อยเป็นค่อยไป เหมือนฝึกภาษาโดยไม่เน้นหลักไวยกรณ์ กับการเรียนควบคู่กับทฤษฎีดนตรี เหมือนเรียนภาษาไปพร้อมๆ กับการเรียนโครงสร้างภาษาและไวยกรณ์ ที่จะช่วยให้การเรียนก้าวหน้าขึ้นอย่างมีระบบและใช้เวลาไม่นาน

เมื่อพูดถึงทฤษฎีดนตรีแล้ว หลายท่านใช้เวลาเรียนรู้จากตำรับตำราหลายเล่ม ก็จะทราบว่า เป็นเรื่องที่เข้าใจยาก และน่าเบื่อ แต่ถ้าหากเรียนรู้ให้เข้าใจกฎเกณฑ์ และเข้าใจวิธีการเพียงเล็กน้อย ก็จะทำให้ เรื่องยากกลับกลายเป็นเรื่องง่าย ดุจพลิกฝ่ามือ

ในชุดเรียนรู้ชุดนี้ จะอธิบายหลักการของทฤษฎีดนตรีอย่างง่ายๆ เป็นขั้นเป็นตอน จะทำให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจดนตรี อย่างซาบซึ้งและแตกฉาน สามารถจดจำตัวโน้ต บันไดเสียงเมเจอร์ และไมเนอร์ พร้อมคอร์ดต่างๆ ได้โดยไม่ต้องท่องจำแบบนกแก้ว นกขุนทอง แต่จะสามารถนำไปใช้สอบได้ทุกรูปแบบ รวมถึงการสอบเข้าเรียนในสถาบันด้านดนตรี ท่านจะเข้าใจทฤษฎีดนตรีได้อย่างเหลือเชื่อ ในเวลาแค่ 1 วัน

นอกเหนือจากนี้น้องๆ ที่เรียนดนตรีโดยเฉพาะเปียโน ซึ่งโดยปกติต้องใช้เวลาเรียนและฝึกซ้อมเป็นเวลานาน ต้องทุ่มเท ทั้งเวลาร่วม 10 ปี แรงกาย แรงใจและค่าใช้จ่ายมากมายมหาศาล กว่าจะเข้าใจและอ่านโน้ตได้ จนบางครั้งน้องๆ หลายคนเริ่มท้อและเบื่อหน่าย แล้วในที่สุดก็เลิกเรียนไปอย่างน่าเสียดาย แล้วยิ่งต้องไปสอบเกรดของเปียโน ที่มีสอบ Sight Reading และ Ear Training ที่เป็นส่วนที่ยาก เพราะอ่านโน้ตไม่คล่อง จำโน้ตไม่ได้ ปัญหาเหล่านี้จะหมดไป เพราะการเรียนรู้ชุดนี้้จะทำให้น้องๆ จดจำตัวโน้ตได้อย่างง่ายๆ แม้กระทั่งคอร์ดต่างๆ ก็รู้ได้โดยไม่ต้องท่องจำ เพราะได้พิสูจน์จากน้องหลายคนที่นำไปใช้ ฝึกซ้อมและทบทวนอย่างสม่ำเสมอใช้เวลาประมาณ 1 ปี สามารถไปสอบเกรด 3 และได้รับคำชม จากอาจารย์ชาวต่างชาติมาแล้ว และยังสามารถผ่านการสอบเกรดที่สูงขื้นได้โดยใช้เวลาไม่นาน จนทำให้ครูผู้สอนหลายท่านประหลาดใจว่า จำโน้ตและคอร์ดต่างๆ ได้มากมายได้อย่างไร ทั้งๆ ที่ครูยังไม่สอน หรือบอกอธิบายแค่ครั้งเดียวก็สามารถจดจำและทำแบบฝึกหัดพร้อมแบบทดสอบเป็นเล่ม ในเวลาอย่างรวดเร็ว ที่สำคัญความรู้เหล่านี้เมื่อเข้าใจและจำได้แล้ว ก็สามารถนำไปใช้ต่อยอดได้อย่างไร้ขีดจำกัด

ที่สำคัญครูผู้สอนดนตรีหลายท่าน นำไปช่วยและใช้สอนลูกศิษย์จนได้ผลมาแล้วมากมายเช่นกัน การเรียนรู้ที่ถูกหลัก ทำให้ผู้ปกครองประหยัดเวลาเรียนและค่าใช้จ่ายได้มหาศาล

คำแนะนำในการเรียน
1. ผู้เรียนอาจจะดูวิดีโอก่อน 1 รอบ เพื่อให้เข้าใจเนื้อหา
2. เรียนรู้พร้อมทำความเข้าใจในแต่ละบท สามารถดูซ้ำหลายครั้ง
3. ในแต่ละแบบฝึกหัด ให้ดาวน์โหลดแบบฝึกหัดมาทำ ก่อนไปดูเฉลย
4. เมื่อจบหลักสูตร ควรย้อนกลับมาทำแบบฝึกหัดอีกหลายรอบ ให้เกิดความชำนาญ

ประโยชน์ที่ผู้เรียนจะได้รับ
- สามารถเรียนรู้และเข้าใจทฤษฎีดนตรีได้อย่างรวดเร็ว
- สามารถจดจำโน้ตและคอร์ดจากวิธีลัด ที่จะช่วยในการสอบให้ได้คะแนนสูงขึ้น
- สามารถช่วยให้เข้าใจและเรียนดนตรีประเภทต่างๆ ได้ในเวลารวดเร็ว

ใครควรเรียนคอร์สออนไลน์นี้
- นักเรียนที่ต้องการเรียนเพื่อใช้สอบ และสอบเข้าเรียนต่อด้านดนตรี
- นักเรียนที่เรียนดนตรีประเภทต่างๆ เช่น เปียโน กีตาร์ และอื่นๆ
- ผู้สนใจดนตรีทุกท่าน ที่ต้องการเรียนรู้ทฤษฎีดนตรีให้เข้าใจอย่างลึกซึ้งและรวดเร็ว

ผู้เรียนต้องมีความรู้อะไรมาก่อน
- ถ้าไม่มีพื้นความรู้ด้านดนตรีมาก่อน ก็สามารถเรียนรู้ได้
- ผู้เรียนที่มีพื้นความรู้การเล่นเปียโนมาก่อน จะช่วยให้เข้าใจเนื้อหาได้เร็วขึ้น

ผู้สอน

วิศัลย์ พัวรุ่งโรจน์

ผู้เขียนหนังสือและพัฒนาวิดีโอสอน ภาษาอังกฤษ Excel และ Access ของ CIStraining Se-ed Ookbee และ SkillLane

หลักสูตรของคอร์สนี้

บทที่ 1 ทฤษฎีดนตรีเบื้องต้น
สุดยอดเทคนิคและการเรียน Music Theory ให้ได้ผล ใน 1 วัน
21:00
เนื้อหาบทเรียน
7:34
Download ไฟล์แบบฝึกหัด
0:11
บทที่ 1.1 ทฤษฎีดนตรีเบื้องต้น
5:13
บทที่ 2 ความรู้พื้นฐานทฤษฎีดนตรี
บทที่ 2 ความรู้พื้นฐานทฤษฎีดนตรี
1:39
2.1 ตัวโน้ตและตัวหยุด
4:45
2.2 แบบฝึกหัดที่ 2.1
2:46
2.3 ตารางเปรียบเทียบตัวโน้ต
2:12
2.4 แบบฝึกหัดที่ 2.2
2:13
2.5 ระดับเสียง (Pitch)
3:17
2.6 บรรทัด 5 เส้น
2:31
บทที่ 3 กุญแจ (Clef)
บทที่ 3 กุญแจ (Clef)
0:56
3.1 กุญแจซอล (Treble Clef/G Clef)
3:56
3.2 แบบฝึกหัดที่ 3.1
2:02
3.3 แบบฝึกหัดที่ 3.2
2:18
3.4 กุญแจฟา (Bass Clef/F Clef)
2:54
3.5 แบบฝึกหัดที่ 3.3
2:08
3.6 แบบฝึกหัดที่ 3.4
2:39
3.7 เส้นน้อย (Ledger)
1:45
3.8 แบบฝึกหัดที่ 3.5
2:39
3.9 แบบฝึกหัดที่ 3.6
3:04
บทที่ 4 บรรทัด 5 เส้นและกุญแจประจำหลัก
บทที่ 4 บรรทัด 5 เส้นและกุญแจประจำหลัก
1:30
4.1 บรรทัด 5 เส้นใหญ่ (Grand Staff)
2:17
4.2 กุญแจซอล
1:01
4.3 กุญแจฟา
0:53
4.4 กุญแจอัลโต
0:51
4.5 กุญแจเทเนอร์
0:43
4.6 การเปรียบเทียบกุญแจประจำหลัก
1:42
บทที่ 5 ส่วนประกอบของโน้ตดนตรี
บทที่ 5 ส่วนประกอบของโน้ตดนตรี
1:07
5.1 Measure, Bar Line และ Double Bar
2:13
5.2 เครื่องหมายประจำจังหวะ 4 4 (1)
2:41
5.3 เครื่องหมายประจำจังหวะ 4 4 (2)
1:13
5.4 เครื่องหมายประจำจังหวะ 4 4 (3)
1:25
5.5 เครื่องหมายประจำจังหวะ 4 4 (4)
2:02
5.6 เครื่องหมายประจำจังหวะ 4 4 (5)
2:01
5.7 เครื่องหมายประจำจังหวะ 4 4 (6)
2:12
5.8 เครื่องหมายประจำจังหวะ 2 4 (1)
0:53
5.9 เครื่องหมายประจำจังหวะ 2 4 (2)
1:03
5.10 เครื่องหมายประจำจังหวะ 2 4 (3)
0:59
5.11 เครื่องหมายประจำจังหวะ 2 2 (1)
0:43
5.12 เครื่องหมายประจำจังหวะ 2 2 (2)
2:13
5.13 การเปรียบเทียบ Time Signature
1:34
5.14 เครื่องหมายประจำจังหวะ 3 8 (1)
1:11
5.15 เครื่องหมายประจำจังหวะ 3 8 (2)
1:54
5.16 แบบฝึกหัดที่ 5.1
4:03
5.17 แบบฝึกหัดที่ 5.2
2:50
บทที่ 6 Dot, Tie และ Slur
บทที่ 6 Dot, Tie และ Slur
1:13
6.1 โน้ตประจุด
2:30
6.2 ตัวอย่างโน้ตประจุด
1:24
6.3 แบบฝึกหัดที่ 6.1
3:01
6.4 แบบฝึกหัดที่ 6.2
2:06
6.5 แบบฝึกหัดที่ 6.3
2:40
6.6 Ties และ Slur
1:27
6.7 ตัวอย่าง Ties และ Slurs (1)
1:41
6.8 ตัวอย่าง Ties และ Slurs (2)
1:55
บทที่ 7 เครื่องหมายแปลงเสียง
บทที่ 7 เครื่องหมายแปลงเสียง
1:05
7.1 เครื่องหมาย Sharp
3:45
7.2 ตัวอย่างเครื่องหมาย Sharp
1:40
7.3 เครื่องหมาย Flat
2:01
7.4 ตัวอย่างเครื่องหมาย Flat
1:25
7.5 เครื่องหมาย Natural
0:49
7.6 ตัวอย่างเครื่องหมาย Natural (1)
1:21
7.7 ตัวอย่างเครื่องหมาย Natural (2)
1:25
7.8 ตัวอย่างเครื่องหมาย Natural (3)
1:09
7.9 ตัวอย่างเครื่องหมาย Natural (4)
1:20
7.10 เครื่องหมาย Double Sharp
2:05
7.11 ตัวอย่างเครื่องหมาย Double Sharp
0:24
7.12 เครื่องหมาย Double Flat
2:20
7.13 ตัวอย่างเครื่องหมาย Double Flat
0:43
7.14 อธิบายแบบฝึกหัดที่ 7
1:42
7.15 แบบฝึกหัดที่ 7.1
3:05
7.16 แบบฝึกหัดที่ 7.2
2:56
บทที่ 8 บันไดเสียง (Scale)
บทที่ 8 บันไดเสียง (Scale)
1:29
8.1 Tone
1:24
8.2 Semitone
1:24
8.3 ประเภทของ Semitone
2:35
8.4 แบบฝึกหัดที่ 8.1
6:33
8.5 แบบฝึกหัดที่ 8.2
7:22
8.6 บันไดเสียง
1:47
8.7 Tetrachord
1:52
8.8 Major Tetrachord
1:39
8.9 Minor Tetrachord
1:34
8.10 Phrygian Tetrachord
1:17
8.11 Harmonic Tetrachord
1:14
บทที่ 9 Major Scale
บทที่ 9 Major Scale
1:36
9.1 Major Scale ทาง Sharp
2:21
9.2 C Major Scale
2:14
9.3 G Major Scale
3:27
9.4 D Major Scale
3:23
9.5 A Major Scale
1:24
9.6 E Major Scale
1:47
9.7 B Major Scale
1:59
9.8 F# Major Scale
0:49
9.9 C# Major Scale
3:32
9.10 แบบฝึกหัดที่ 9.1
1:00
บทที่ 10 Major Scale ทาง Flat
บทที่ 10 Major Scale ทาง Flat
1:53
10.1 C Major Scale
0:45
10.2 F Major Scale
2:53
10.3 Bb Major Scale
1:04
10.4 Eb Major Scale
1:36
10.5 Ab Major Scale
1:54
10.6 Db Major Scale
1:02
10.7 Gb Major Scale
0:52
10.8 Cb Major Scale
1:37
10.9 แบบฝึกหัดที่ 10.1
1:06
10.10 สรุปกุญแจเสียง
4:27
10.11 แบบฝึกหัดที่ 10.2
2:52
10.12 ชื่อเทคนิคของตัวโน้ต
1:48
บทที่ 11 Minor Scale
บทที่ 11 Minor Scale
1:54
11.1 ประเภทของ Minor Scale
1:40
11.2 Melodic Minor Scale
2:57
11.3 Harmonic Minor Scale
2:32
11.4 Natural Minor Scale
2:16
11.5 Melodic Minor Scale
2:09
11.6 Harmonic Minor Scale
1:51
11.7 Natural Minor Scale
1:52
11.8 แบบฝึกหัดที่ 11.1
0:55
11.9 แบบฝึกหัดที่ 11.2
1:49
11.10 บันไดเสียง
1:39
11.11 Harmonic Chromatic Scale
0:43
11.12 Melodic Chromatic Scale
0:40
บทที่ 12 Mode
บทที่ 12 Mode
1:26
12.1 Ionian Mode/C Major
0:39
12.2 Dorian
1:12
12.3 Phrygian
0:41
12.4 Lydian
0:47
12.5 Mixolydian
0:47
12.6 Aeolian
0:33
12.7 Locrian
0:36
12.8 Scale อื่นๆ
0:36
12.9 Pentatonic
0:48
12.10 Whole tone Scale
0:35
บทที่ 13 ขั้นคู่เสียง (Interval)
บทที่ 13 ขั้นคู่เสียง (Interval)
2:23
13.1 ประเภทของ Interval
0:51
13.2 แผนที่การเปลี่ยน Interval
1:05
13.3 ขั้นคู่เสียง (Interval)
5:11
13.4 Interval 2
4:00
13.5 Major to Augmented Interval
1:13
13.6 Major to Minor Interval
1:06
13.7 Major to Diminished Interval
1:02
13.8 Perfect to Augmented Interval
1:07
13.9 Perfect to Diminished Interval
0:47
13.10 แบบฝึกหัดที่ 13.1
10:13
13.11 การเปลี่ยนระดับเสียง (Transpose)
2:34
13.12 แบบฝึกหัดที่ 13.2
3:40
บทที่ 14 คอร์ด (Chord)
บทที่ 14 คอร์ด (Chord)
2:12
14.1 ความหมายของคอร์ด (Chord)
1:55
14.2 ไตรแอด (Triad)
1:02
14.3 C Triad
1:20
14.4 Triads บน C Major
1:31
14.5 Primary Triads บน C Major
1:52
14.6 ชื่อทางเทคนิคของตัวโน้ต
0:55
14.7 V7 (dominant 7th) Chord
2:04
14.8 1st Inversion
2:01
14.9 Triads 1st Inversion บน C Major
0:34
14.10 2nd Inversion
2:28
14.11 Triads 2nd Inversion บน C Major
0:50
14.12 V7 Chord's Inversion
1:26
14.13 Major Chord Progressions
1:24
14.14 แบบฝึกหัดที่ 14.1
6:18
14.15 แบบฝึกหัดที่ 14.2
4:05
14.16 แบบฝึกหัดที่ 14.3
1:49
14.17 แบบฝึกหัดที่ 14.4
1:21
14.18 Minor Chord
1:55
14.19 Diminished Chord
1:04
14.20 Augmented Chord
0:51
14.21 ตัวอย่าง
6:29
14.22 แบบฝึกหัดที่ 14.5
6:27
บทที่ 15 การประสานเสียง (Harmonizing)
บทที่ 15 การประสานเสียง (Harmonizing)
0:49
15.1 ความหมายการประสานเสียง
0:50
15.2 การประสานเสียงใน Major Chord
2:12
15.3 C Major Scale 1
1:19
15.4 C Major Scale 2
1:26
15.5 แบบฝึกหัดที่ 15.1
2:51
15.6 แบบฝึกหัดที่ 15.2
3:31
15.7 แบบฝึกหัดที่ 15.3
1:33
15.8 แบบฝึกหัดที่ 15.4
1:27
15.9 แบบฝึกหัดที่ 15.5
1:07
15.10 การประสานเสียงใน Minor Chord
1:03
15.11 A Harmonic Minor Scale
1:40
15.12 แบบฝึกหัดที่ 15.6
1:19
15.13 แบบฝึกหัดที่ 15.7
3:20