ญี่ปุ่นออนไลน์ รู้ใจไวยากรณ์ N4

Current Time 0:00
/
Duration Time 0:00
Progress: NaN%

ราคา

ซื้อคอร์สนี้ : 2,500.00 ฿

สามารถเรียนที่ไหน เมื่อไหร่ก็ได้ตลอดชีพ

เนื้อหาทั้งหมด 54 วิดีโอ ความยาวรวมกัน 11 ชั่วโมง 52 นาที

สอนโดย ครูสอนภาษาญี่ปุ่นเจ้าของ Facebook Page "ญี่ปุ่น : เรียนเองก็เก่งได้" ที่มีผู้ติดตามกว่า 14,000 คน

เกี่ยวกับคอร์สนี้

คอร์สรู้ใจไวยากรณ์ N4 กลายเป็นคอร์สที่ช่วยปลดล็อกปัญหาไวยากรณ์ขั้นพื้นฐานให้กับนักเรียนที่ต้องการเตรียมตัวสอบ JLPT ระดับ N4 หรือต้องการเรียนต่อในระดับกลางไปแล้วค่ะ เพราะนักเรียนหลายคนเรียนแล้ว อินบ๊อกซ์มาบอกว่ารู้เลยตัวเองยังไม่แม่นการผันคำกริยา บางคนบอกว่ายังไม่แม่นไวยากรณ์ บางคนบอกยังไม่แม่นคำศัพท์ ทำให้กลับไปแก้ไขปัญหาได้ถูกที่มากขึ้น บางคนบอกว่าลองทำแนวข้อสอบแล้ว ตอบถูกมากขึ้น

ถ้าอยากปลดล็อกปัญหาการเตรียมตัวสอบ สมัครเรียนคอร์ส "รู้ใจไวยากรณ์ N4" พร้อมรับของแถมที่จะช่วยเสริมทักษะการทำข้อสอบให้มั่นใจมากยิ่งขึ้น คือ (1) ชีทการผันคำกริยา 13 รูปแบบ และ (2) ชีทคำศัพท์ระดับ N4

*หมายเหตุ ใช้หนังสือ Go JLPT N4 ในการเรียนค่ะ

จุดเด่นของคอร์ส "รู้ใจไวยากรณ์ N4"
1. รวมไวยากรณ์ที่ออกสอบบ่อยในระดับ N4
2. เปรียบเทียบความเหมือน-ต่าง ของไวยากรณ์แบบละเอียด
3. เคลียร์ใจเรื่องคำช่วย 

ประโยชน์ที่ผู้เรียนจะได้รับ
1. แยกไวยากรณ์ที่แตกต่างกันได้  เพื่อเป็นประโยชน์ในการตัดช้อยส์ตอนทำข้อสอบ
2. ทำข้อสอบไวยากรณ์และการอ่านได้ง่ายขึ้น

ใครควรเรียนคอร์สออนไลน์นี้
1. ทุกคนที่จะสอบ JLPT : N4 หรือ PAT7.3
2. ทุกคนที่เรียนพื้นฐานแล้วจำไวยากรณ์ไม่แม่น
3. ทุกคนที่ต้องการต่อยอดภาษาญี่ปุ่นในระดับกลาง

ผู้เรียนต้องมีความรู้อะไรมาก่อน
- ต้องผ่านการเรียนมินนะ โนะ นิฮงโกะ เล่ม 1 - 4
- ต้องผ่านการเรียนอะกิโกะ โตะ โทโมดาจิ เล่ม 1 - 6
- หรือผ่านการเรียนภาษาญี่ปุ่นขั้นพื้นฐานอย่างน้อย 200 ชั่วโมง
- มีความรู้คันจิอย่างน้อย 100 ตัว

ผู้สอน

กระต่าย กนิฏฐกา (กระต่ายเซนเซ)

วิทยากรสอนภาษาญี่ปุ่น เจ้าของเพจ "ญี่ปุ่นย่อยง่าย"

หลักสูตรของคอร์สนี้

แนะนำคอร์ส "รู้ใจไวยากรณ์N4"
คอร์สรู้ใจไวยากรณ์ N4
3:28
เอกสารการผันคำกริยา 13 รูป
0:12
เอกสารคำศัพท์ N4
0:12
ส่วนที่ 1 : ตีสนิทไวยากรณ์ N4
บทที่ 1 ไวยากรณ์แสดงการเปรียบเทียบ
22:13
บทที่ 2 ไวยากรณ์ ながら、ところです、まで/までに
21:24
บทที่ 3 ไวยากรณ์แสดงการชักชวน
9:04
บทที่ 4 ไวยากรณ์แสดงความสามารถ
15:11
บทที่ 5 ไวยากรณ์ที่มีคำว่า ことがあります
11:32
บทที่ 6-1 ไวยากรณ์แสดงการอนุญาต, ห้ามปราม
10:48
บทที่ 6-2 ไวยากรณ์อธิบายสิ่งที่ต้องทำหรือไม่ต้องทำ
11:22
บทที่ 7 ไวยากรณ์แสดงความต้องการ ความปรารถนา
19:18
บทที่ 8-1 ไวยากรณ์ そうです และ まま
27:06
บทที่ 8-2 ไวยากรณ์แสดงความต้องการของบุคคลที่ 3
17:46
บทที่ 9 ไวยากรณ์แสดงการอธิบายเหตุผล
16:49
บทที่ 10 ไวยากรณ์ที่ใช้บอกจุดประสงค์
27:08
บทที่ 11 ไวยากรณ์ที่ใช้อธิบาายเหตุการณ์ที่มีมากกว่า 1 อย่างใน 1 ประโยค
18:17
บทที่ 12 ไวยากรณ์ที่ใช้ในการคาดคะเนเหตุการณ์
15:54
บทที่ 13 ไวยากรณ์ที่ใช้ในการแนะนำคู่สนทนา
12:14
บทที่ 14-1 ไวยากรณ์รูปเงื่อนไข แบบที่ 1
19:37
บทที่ 14-2 เปรียบเทียบไวยากรณ์รูปเงื่อนไข
15:39
บทที่ 15 ไวยากรณ์รูปเงื่อนไข แบบที่ 2
9:30
บทที่ 16 ไวยากรณ์แสดงความขัดแย้ง
13:59
บทที่ 17 ไวยากรณ์ と และ か/かどうか
11:47
บทที่ 18 ไวยากรณ์อธิบายความตั้งใจ
17:45
บทที่ 19 ไวยากรณ์แสดงการถ่ายทอดข้อมูล
11:44
บทที่ 20 ไวยากรณ์แสดงการเปลี่ยนแปลงสภาพ
12:28
บทที่ 21 ไวยากรณ์แสดงการตัดสินใจและไวยากรณ์ที่เหตุการณ์ถูกกำหนดไว้
7:13
บทที่ 22 ไวยากรณ์ てみます、ておきます、てしまいます
12:24
บทที่ 23 ไวยากรณ์อธิบายการให้ - ได้รับ
15:19
บทที่ 24 ไวยากรณ์รูปถูกกระทำ
16:33
บทที่ 25-1 ไวยากรณ์รูปให้กระทำ
13:40
บทที่ 25-2 ไวยากรณ์รูปถูกให้กระทำ
22:05
ส่วนที่ 2 : เสริมความมั่นใจกับไวยากรณ์ N4
บทที่ 1-1 คำช่วย で
16:20
บทที่ 1-2 คำช่วย に
19:38
บทที่ 1-3 คำช่วย で VS に
8:32
บทที่ 2-1 คำช่วย を
6:03
บทที่ 2-2 คำช่วย と
6:43
บทที่ 3 คำช่วย も - การใช้ しか
12:16
บทที่ 4-1 การใช้ だけ
2:01
บทที่ 4-2 การใช้ でも
9:14
บทที่ 5 คำช่วย は VS が
19:31
บทที่ 6 การใช้ の กับ こと
27:56
บทที่ 7 ไวยากรณ์ てーないで
15:52
บทที่ 8 สกรรมกริยา VS อกรรมกริยา
16:33
บทที่ 9 ไวยากรณ์ ています และ てあります
14:00
บทที่ 10 ไวยากรณ์ てきます และ ていきます
11:11
บทที่ 11 การใช้ こ・そ・あ
9:34
บทที่ 12 คำสันธานเชื่อมประโยค
12:36
บทที่ 13 คำกริยาวิเศษณ์
8:40
บทที่ 14 ไวยากรณ์ すぎます、いくいです、やすいです
9:08
บทที่ 15-1 การเปลี่ยนคำนามเป็นคำกริยา
6:02
บทที่ 15-2 การเปลี่ยนคำนามเป็นคำคุณศัพท์
9:21
บทที่ 15-3 การเปลี่ยนคำกริยาวิเศษณ์เป็นคำคุณศัพท์
7:55
บทที่ 15-4 การเปลี่ยนคำนามเป็นประโยคหรือวลี
3:20